Blog Archives

การกัดกร่อนในท่อคอนเดนเสท

ถาม การกัดกร่อนในท่อคอนเดนเสท • ท่อคอนเดนเสทรั่วบ่อย • มีคราบสีแดงปนไปกับไอน้ำ • เกิด Water Hammer ในระบบ ตอบ สาเหตุใหญ่มาจากน้ำค้างท่อ ไม่สามารถระบายออกได้หลังจากหยุดใช้ไอน้ำ หากแหล่งน้ำป้อนมีคุณภาพไม่ดี โดยเฉพาะอุณหภูมิ Feed tank ต่ำ ค่าเกลือแร่ในน้ำ Feed สูง ก็ยิ่งส่งผลให้เกิดการกัดกร่อนหนักขึ้น ดังนั้นควรแก้ไขโดยจัดระบบท่อ Steam และ Condensate การติดตั้ง Trap ในบางจุดที่จำเป็น นอกจากนี้ควรเพิ่มอุณหภูมิ Feed tank เพื่อกำจัด O2 โดยใช้ Condensate และ Steam ให้ได้อย่างน้อย

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler

Steam Trap มักรั่วอยู่เสมอ อยากทราบวิธีการออกแบบระบบ Steam Trap ที่ถูกต้อง

ถาม Steam Trap มักรั่วอยู่เสมอ (เมื่อเปลี่ยนของใหม่แล้วไม่นาน) อยากทราบวิธีการออกแบบระบบ Steam Trap ที่ถูกต้อง และวิธีการเลือก Steam Trap ในแต่ละกิจกรรม ตอบ เลือก Steam Trap ที่มีคุณภาพเชื่อถือได้ ซึ่งจะมีราคาสูงเล็กน้อย แต่หากเทียบกับระยะเวลาที่ปล่อยให้รั่วก็ยังคุ้มค่าอยู่ เช่น เราจะเสียค่าใช้จ่ายมากกว่า 10 บาท/ชั่วโมง สำหรับ Trap ½” รั่ว หมายถึง 36,000 บาท เมื่อเราปล่อยให้รั่วครึ่งปี ก่อนจะถึงเวลาตรวจสอบในรอบถัดไปโดย ทั่วไป Steam Trap ท่อ Main ควรใช้ Thermodynamic ปลายของท่อ

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

อยากทราบว่าการติดตั้ง Temp. Control ก่อนเข้า Plate H/E กับหลัง H/E อย่างไหนจะดีกว่ากัน (ต่างกันอย่างไร)

ถาม อยากทราบว่าการติดตั้ง Temp. Control ก่อนเข้า Plate H/E กับหลัง H/E อย่างไหนจะดีกว่ากัน (ต่างกันอย่างไร) ตอบ การ ติด Control Valve ก่อนเข้าเครื่อง ความดันไอน้ำภายในเครื่องจะเปลี่ยนแปลงตามความต้องการความร้อน ดังนั้นหาก Heat exchanger ถูกออกแบบ over size ก็จะเกิดปัญหา Condensate ท่วมขังเป็นช่วงๆ เนื่องจากความต้องการอุณหภูมิไอน้ำ น้อยลง ซึ่งก็คือความดันไอน้ำอิ่มตัวที่ต้องการก็จะน้อยลงนั่นเอง การติด Control Valve หลัง Steam Trap ด้านขาออกของเครื่องจะพบว่าความดันใน Heat exchanger คงที่

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, ระบบหม้อไอน้ำ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

อยากทราบรายละเอียดของ Separator

ถาม อยากทราบรายละเอียดของ Separator เนื่องจากปัจจุบันโรงงานมี Line Steam จากหัวอาคารถึงท้ายอาคารยาวประมาณ 400 m. แต่ไม่มีตัวดักน้ำเลยจึงคิดว่าไม่ถูกต้องถ้าติด Separator จะให้ผลดีอย่างไร ตอบ การดักน้ำจากท่อ Steam Main ควรทำกระเปาะรับน้ำทุกๆ จุด ความยาวระยะ 30-50 ม. ถ้าท่อยาว 400 ม. ควรจะมีอย่างน้อย 8 จุด โดยที่กระเปาะที่ว่านี้ถ้าท่อขนาด ½” – 4” ควรมีขนาดเท่าท่อ หากโตกว่านี้สามารถลดขนาดลงได้ 1-2 Size การติดตั้ง Separator ที่ต้นทางแต่ไม่มีจุดดักน้ำก็ไม่ได้ช่วยอะไรเลย คาดว่าท่อจ่ายไอในโรงงานมีการเกิด Water

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

ท่อ ที่จ่ายออกจากตัว Boiler ขนาด 35 t/h ความดัน 8 bar (Saturated Steam) มีขนาด 8” ยาว 20 เมตร มีขนาดเหมาะสมหรือเปล่า

ถาม ท่อ ที่จ่ายออกจากตัว Boiler ขนาด 35 t/h ความดัน 8 bar (Saturated Steam) มีขนาด 8” ยาว 20 เมตร มีขนาดเหมาะสมหรือเปล่า ถ้าไม่เหมาะสมควรจะเป็นขนาดเท่าไร เพราะเกิดปัญหาความดันที่ตัว Boiler กับที่ Steam Header ต่างกันมาก จะมีแนวทางแก้ไขอย่างไรบ้าง และถ้าแก้ไขแล้วจะสามารถ Save ค่าใช้จ่ายในการผลิต Steam ได้หรือเปล่า ตอบ การ ออกแบบท่อไอน้ำอิ่มตัวของท่อระยะสั้น ๆ ควรใช้ความเร็ว 25 m/s และไม่เกิน 40

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler

ระยะการคุ้มทุนของตัว Plate Heat Exchanger และอยากให้จัดทัศนศึกษาดูโรงงานที่ได้ติดตั้งไปแล้วว่ามีปัญหาหรือไม่

ถาม ระยะการคุ้มทุนของตัว Plate Heat Exchanger และอยากให้จัดทัศนศึกษาดูโรงงานที่ได้ติดตั้งไปแล้วว่ามีปัญหาหรือไม่ ตอบ การ ใช้ Plate Heat เพื่อให้เกิดการคุ้มทุนสูง คืออุณหภูมิของคอนเดนเสทที่ออกจาก Plate Heat ต่ำกว่าอุณหภูมิอิ่มตัวของไอน้ำมากๆ ซึ่งหมายถึง Duty Margin ของ Plate Heat เกินจากโหลดจริงหลายเท่า กรณีดังกล่าวหากการระบายคอนเดนเสทไม่ดีพอเช่น ไม่มี Pumping Trap จะเกิดคอนเดนเสทท่วมขังใน Plat Heat ที่อุณหภูมิต่ำอันเป็นสาเหตุของ Water hammer, อุณหภูมิที่ควบคุมไม่นิ่ง เป็นต้น

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

สตีมแทรป Trap น้ำไม่ทัน เกิดปัญหาความร้อนไม่คงที่

ถาม สตีมแทรป Trap น้ำไม่ทัน เกิดปัญหาความร้อนไม่คงที่ ตอบ การ ใช้ Group trapping เช่นการใช้ Trap เพียง 1-2 ตัว ติดตั้งอาจก่อให้เกิดปัญหา Steam lock และหากใช้ Trap ที่ไม่มีความสามารถในการระบายอากาศก็ยิ่งทำให้อุณหภูมิในแต่ละชั้นร้อนไม่ ทั่วถึงกัน สามารถแก้ไขโดยติด Steam trap ในแต่ละชิ้นโดยการใช้ Trap ½” ชนิด Thermodynamic ที่มี Air vent ใน ตัว (Anti Air Binding Disc) ก็จะสามารถระบายอากาศที่ตกค้างและป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, อุปกรณ์ไอน้ำ boiler

มีไอน้ำแฟลซอยู่หลายจุดโดยที่ยังไม่มีการนำมาใช้

ถาม มีไอน้ำแฟลซอยู่หลายจุดโดยที่ยังไม่มีการนำมาใช้ ตอบ  สามารถใช้ Flash tank ความดันต่ำรวบรวม Flash Steam นำกลับไปให้ความร้อนแก่น้ำในขบวนการผลิต หรือ Feed tank ตัวอย่างเช่น -หาก ขบวนการผลิตต้องการไอน้ำ 7 barg เข้า Coil จะเกิด flash steam มากถึง 11.3% จาก 7 bar สู่ 0.5 barg และหากขบวนการผลิตต้องการไอน้ำ 1,000 kg/hr จะได้ไอน้ำกลับถึง 113 kg/h ซึ่งหากคิดต้นทุนการผลิตไอน้ำ 7 barg โดยใช้น้ำมันเตา,

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler

ท่อเมนสตีม Ø2” แรงดัน 8 บาร์ จะทำไอเปียกให้เป็นไอแห้ง ถ้าติดตั้งตัวดักแยกน้ำ (Separator) จะช่วยได้มากน้อยแค่ไหน

ถาม ท่อเมนสตีม Ø2” แรงดัน 8 บาร์ จะทำไอเปียกให้เป็นไอแห้ง ถ้าติดตั้งตัวดักแยกน้ำ (Separator) จะช่วยได้มากน้อยแค่ไหน ตอบ ช่วย ได้ หากขนาดท่อ และ Separator ที่ใช้ ถูกออกแบบมาที่ความเร็วไอน้ำ 10-25 m/s สำหรับ Steam Trap ที่ระบาย Condensate ออกจาก Separator ควรเป็นชนิดลูกลอยเท่านั้น

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler

การถ่ายเทความร้อนจากไอน้ำ (Heat Transfer from Steam)

การก่อตัวของฟิล์ม (Film) ที่เกิดขึ้น ณ ด้านใดด้านหนึ่งของพื้นผิวการถ่ายเทความร้อนจะมีกระทบต่อประสิทธิภาพของการถ่ายเทความร้อนจากไอน้ำไปสู่กระบวนการต่างๆ ในกระบวนการผลิต ตะกรันที่เกิดจากการเกาะตัวติดกันของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการกัดกร่อนได้ โดยที่ภายใต้ตะกรันก็จะมีชั้นของน้ำที่หยุดนิ่ง (Stagnant Layer) เมื่อเกิดความร้อน  การถ่ายเทความร้อนผ่านชั้นต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นได้โดยการนำความร้อน (Conduction)  ซึ่งจะไม่มีประสิทธิภาพมากนักเมื่อเทียบกับการถ่ายเทความร้อนด้วยการพาความร้อน (Convection)  ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการหมุนเวียนภายในของเหลวที่มีจำนวนมาก  ยิ่งไปกว่านั้นฟิล์มที่เกิดขึ้นทั้ง 2 ด้านทำให้ประสิทธิภาพในการนำความร้อนลดลงกว่าการใช้พื้นผิวของโลหะในการถ่ายเทความร้อนในสภาวะอุดมคติฟิล์มเหล่านี้จะบางจนไม่มีความสำคัญมากนัก  แต่ในสถานการณ์จริง (The Real World) ฟิล์มเหล่านี้จะเป็นตัวจำกัดอัตราของการถ่ายเทความร้อน โดยทั่วไป การทำความสะอาดพื้นผิวของโลหะเป็นประจำจะช่วยควบคุมการเกิดตะกรันได้  สำหรับชั้นของน้ำหรือของเหลวที่หยุดนี่งนี้สามารถทำให้ลดลงได้  บ่อยครั้งที่ใช้เครื่องที่ทำให้เกิดการกวนหรือสั่นโดยอัตโนมัติเพื่อปัญหานี้จะทำให้เวลาในการทำความร้อนเร็วขี้นมาก ในส่วนของไอน้ำก็จะมีฟิล์ม 3 ชนิด คือ ชั้นของฟิล์มที่เกิดการควบแน่น (Condensate Film Layer) อยู่ต่อจากชั้นของฟิล์มที่เกิดจากตะกรันบนผิวโลหะ (Scale Film Layer) 

Tagged with: , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , , ,
Posted in ระบบงานท่อ boiler, ระบบหม้อไอน้ำ boiler